25 สิงหาคม 2553

การให้การรักษาผู้ป่วย SLE ระหว่างตั้งครรภ์

          การกำเริบของโรคพบได้ตลอดการตั้งครรภ์ และมีรายงานการศึกษามากมายกล่าวถึงผลของ SLE ต่อการตั้งครรภ์ พอสรุปได้ดังนี้
1. การแท้งบุตร
2. Preeclampsia และ eclampsia 
3. ภาวะทารกโตช้า (intrauterine growth retardation :IUGR)
4. การคลอดก่อนกำหนด(premature delivery)
         ผู้ป่วย SLE ที่ตั้งครรภ์และตรวจพบ aPL (antiphospholipid antibodies) จะมีโอกาสเป็น antiphospholipid syndrome (APS) เสี่ยงต่อการแท้งบุตรและ Preeclampsia เพิ่มขึ้น

From:http://biomed.brown.edu/Courses/BI108/BI108_2008_Groups/group06/pages/costeffectiveness.html

-------------------------------------------------------------------------


แผนภูมิการให้การรักษาผู้ป่วย SLE ระหว่างตั้งครรภ์



------------------------------------------------------------------------

เอกสารอ้างอิง

  1. http://biomed.brown.edu/Courses/BI108/BI108_2008_Groups/group06/pages/costeffectiveness.html
  2. วิทยา  ศรีมาดา.Evidence-base clinical practice guideline. พิมพ์ครั้งที่3 กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
  3. วิลาสินี หิรัญพานิช, ปวิตรา พูลบุตร, อธิกา จารุโชติกมล, จันทร์ทิพย์ กาญจนศิลป์.เภสัชวิทยา2. มหาสารคาม: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม; 2547.
  4. สุรศักดิ์   นิลกานุวงศ์, สุรวุฒิ   ปรีชานนท์.ตำราโรคข้อ เล่มที่หนึ่ง.พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพมหานคร: เอส พี เอ็น การพิมพ์ จำกัด, 2544
  5. Lacy CF, Armstrong LL, Goldman MP, Lance LL. Drug information handbook. 13thed. Ohio:  Lexi-Comp Inc; 2005.